ตอนที่ 10
Seeing the nature of life
10. Then Siddhartha noticed various other creatures around him. He saw a lizard eating ants. But soon a snake came, caught the lizard, and ate it. Then, suddenly a bird came down from the sky, picked up the snake and so it was eaten also. Siddhartha realised that all these creatures might think that they were happy for a while, but that they ended up suffering.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/010bio.htm
ยังมีอีกครับ
วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 9
The ploughing ceremony
9. Siddhartha liked to watch what was happening and think about different things. One afternoon his father took him to the annual Ploughing Festival. The king started the ceremony by driving the first pair of beautifully decorated bullocks. Siddhartha sat down under a rose-apple tree and watched everyone. He noticed that while people were happily enjoying themselves, the bullocks had to work terribly hard and plough the field. They did not look happy at all.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/009bio.htm
ยังมีอีกครับ
The ploughing ceremony
9. Siddhartha liked to watch what was happening and think about different things. One afternoon his father took him to the annual Ploughing Festival. The king started the ceremony by driving the first pair of beautifully decorated bullocks. Siddhartha sat down under a rose-apple tree and watched everyone. He noticed that while people were happily enjoying themselves, the bullocks had to work terribly hard and plough the field. They did not look happy at all.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/009bio.htm
ยังมีอีกครับ
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 8
Rescuing a swan shot by Devadatta
8. One day, Siddhartha was playing with his friends in the palace garden. One of the boys was his cousin, Prince Devadatta. While Siddhartha was gentle and kind, Devadatta was by nature cruel and liked to kill other creatures. While they were playing, Devadatta shot a swan with his bow and arrow. It was badly wounded. But Siddhartha took care of the swan until its wounds healed. When the swan was well again, he let it go free.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/008bio.htm
ยังมีอีกครับ
Rescuing a swan shot by Devadatta
8. One day, Siddhartha was playing with his friends in the palace garden. One of the boys was his cousin, Prince Devadatta. While Siddhartha was gentle and kind, Devadatta was by nature cruel and liked to kill other creatures. While they were playing, Devadatta shot a swan with his bow and arrow. It was badly wounded. But Siddhartha took care of the swan until its wounds healed. When the swan was well again, he let it go free.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/008bio.htm
ยังมีอีกครับ
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 7
The prince protects a snake
7. Siddhartha always took care not to do anything harmful to any creature. He liked to help others. For example, one day the prince saw one of the town boys beating a snake with a stick. He immediately stopped the boy, and told him not to hurt the snake.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/007bio.htm
โปรดติดตามตอนต่อไป
The prince protects a snake
7. Siddhartha always took care not to do anything harmful to any creature. He liked to help others. For example, one day the prince saw one of the town boys beating a snake with a stick. He immediately stopped the boy, and told him not to hurt the snake.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/007bio.htm
โปรดติดตามตอนต่อไป
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 6
The prince's loving-kindness
6. The prince was kind to everyone. He was gentle with his horse and other animals. Because he was a prince his life was very easy, and he could have chosen to ignore the problems of others. But he felt sympathy for others. He knew that all creatures, including people, animals and all other living beings, like to be happy and don't like suffering and pain.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/006bio.htm
ติดตามตอนต่อไปครับ
The prince's loving-kindness
6. The prince was kind to everyone. He was gentle with his horse and other animals. Because he was a prince his life was very easy, and he could have chosen to ignore the problems of others. But he felt sympathy for others. He knew that all creatures, including people, animals and all other living beings, like to be happy and don't like suffering and pain.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/006bio.htm
ติดตามตอนต่อไปครับ
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 5
Prajapati Gotami takes care of the baby prince
5. The Queen's sister Prajapati Gotami took care of the baby prince with as much love as if he were her own son. Prince Siddhartha was a healthy and happy boy. He liked to learn and found it easy to study, and was the cleverest in his class and the best at games. He was always considerate to others and was popular among his friends.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/005bio.htm
ยังมีตอนต่อไปอีกตามเคยครับ
Prajapati Gotami takes care of the baby prince
5. The Queen's sister Prajapati Gotami took care of the baby prince with as much love as if he were her own son. Prince Siddhartha was a healthy and happy boy. He liked to learn and found it easy to study, and was the cleverest in his class and the best at games. He was always considerate to others and was popular among his friends.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/005bio.htm
ยังมีตอนต่อไปอีกตามเคยครับ
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 4
The death of Queen Maha Maya
4. There had been much rejoicing at the birth of the prince, but two days after he was named, Queen Maha Maya died. Everybody was shocked and felt very sad. But the saddest person was, of course, her husband King Suddhodana. He was worried, too, because his wise advisers had predicted that if the prince saw someone old, someone sick, a dead person, and a monk, he would want to leave the palace and become a monk himself, instead of being a prince.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/004bio.htm
ยังมีอีกครับ เดี๋ยวอัพให้
The death of Queen Maha Maya
4. There had been much rejoicing at the birth of the prince, but two days after he was named, Queen Maha Maya died. Everybody was shocked and felt very sad. But the saddest person was, of course, her husband King Suddhodana. He was worried, too, because his wise advisers had predicted that if the prince saw someone old, someone sick, a dead person, and a monk, he would want to leave the palace and become a monk himself, instead of being a prince.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/004bio.htm
ยังมีอีกครับ เดี๋ยวอัพให้
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 3
Queen Maha Maya andf King Suddhodana
3. After many years, Queen Maha Maya became pregnant. She and her husband were very happy about it. On the full moon day in the month of May, she gave birth to a boy in Lumbini Park, while she was on her way to see her parents. Five days after the prince's birth the king asked five wise men to select a name for his son. They named him Siddhartha. This name means "the one whose wishes will be fulfilled".
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/003bio.htm
ยังมีอีกหลายตอนครับ เดี๋ยวอัพให้
Queen Maha Maya andf King Suddhodana
3. After many years, Queen Maha Maya became pregnant. She and her husband were very happy about it. On the full moon day in the month of May, she gave birth to a boy in Lumbini Park, while she was on her way to see her parents. Five days after the prince's birth the king asked five wise men to select a name for his son. They named him Siddhartha. This name means "the one whose wishes will be fulfilled".
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/003bio.htm
ยังมีอีกหลายตอนครับ เดี๋ยวอัพให้
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 2
The city of Kapilavathu
2. Siddhartha's parents belonged to the Indian warrior caste. They lived in a great palace in their capital city of Kapilavatthu, beneath the majestic mountains of the Himalayas. Queen Maha Maya was beautiful, intelligent and good. King Suddhodana was honoured and respected because he ruled well. Both of them were admired and loved by the people they ruled.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/002bio.htm
ยังมีหลายตอน เดี๋ยวอัพให้เรื่อย ๆ ครับ
The city of Kapilavathu
2. Siddhartha's parents belonged to the Indian warrior caste. They lived in a great palace in their capital city of Kapilavatthu, beneath the majestic mountains of the Himalayas. Queen Maha Maya was beautiful, intelligent and good. King Suddhodana was honoured and respected because he ruled well. Both of them were admired and loved by the people they ruled.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/002bio.htm
ยังมีหลายตอน เดี๋ยวอัพให้เรื่อย ๆ ครับ
วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553
พุทธประวัติ ฉบับภาษาอังกฤษ (Story of the Buddha)
ตอนที่ 1
The country where the Buddha grew up
The hero of our story is Prince Siddhartha, the Buddha-to-be, who lived more than 2,500 years ago. His father was the Rajah of the Sakya clan, King Suddhodana, and his mother was Queen Maha Maya. They lived in India, in a city called Kapilavatthu, in the foothills of the Himalayas.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/001bio.htm
ยังมีอีกหลายตอนครับ เดี๋ยวจะใส่เพิ่มให้เรื่อย ๆ ครับ
The country where the Buddha grew up
The hero of our story is Prince Siddhartha, the Buddha-to-be, who lived more than 2,500 years ago. His father was the Rajah of the Sakya clan, King Suddhodana, and his mother was Queen Maha Maya. They lived in India, in a city called Kapilavatthu, in the foothills of the Himalayas.
ที่มา http://www.buddhanet.net/e-learning/buddhism/001bio.htm
ยังมีอีกหลายตอนครับ เดี๋ยวจะใส่เพิ่มให้เรื่อย ๆ ครับ
การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อดีต-ปัจจุบัน
แนวคิดและวิธีการสอนภาษาอังกฤษ - อดีตถึงปัจจุบัน
แนวคิดและวิธีสอนภาษาอังกฤษที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (ESL) และภาษาต่างประเทศ (EFL) มีดังนี้
1. การสอนแบบไวยากรณ์และแปล (grammar-translation method)
2. วิธีสอนแบบตรง (direct method)
3. วิธีสอนแบบฟัง-พูด (audio-lingual method)
4. การสอนตามแนวทฤษฎีการเรียนแบบความรู้ความเข้าใจ (cognitive code-learning)
5. การสอนตามแนวธรรมชาติ (natural approach)
6. การสอนแบบเงียบ (silent way)
7. การสอนแบบชักชวน (suggestopedia)
8. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (total physical response method)
9. การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (community language learning)
10. การสอนตามแนวสื่อสาร (communicative language teaching)
แนวโน้มการเรียนภาษาอังกฤษในอนาคต
1. การสอนตามแนว cognitive-constructivist approach to language learning)
2. การเรียนตามแนวบูรณาการเนื้อหาและภาษา (content and language integrated learning)
3. การเรียนแบบร่วมมือ (cooperative learning)
4. การบูรณาการภาษากับวัฒนธรรม (integration of culture in language learning)
5. การบูรณาการวรรณคดีกับการเรียนภาษา (integration of literature in language learning)
แนวคิดและวิธีสอนภาษาที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต การสอนภาษาอังกฤษตามแนวสื่อสาร communicative language teaching (CLT)
การสอนตามแนวสื่อสารคืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร
การสอนตามแนวสื่อสารได้ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรก ในแถบอเมริกาเหนือและยุโรปในช่วงปี 1970 การสอนตามแนวสื่อสารเกิดขึ้นในยุโรป เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวมีผู้อพยพเข้าไปอาศัยในยุโรปเป็นจำนวนมาก สมาพันธ์ยุโรป (Council of Europe) จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาที่สองแบบเน้นหน้าที่และสื่อความหมาย (functional national syllabus design) เพื่อช่วยให้ผู้อพยพสามารถใช้ภาษาที่สองในการสื่อสาร ในส่วนของอเมริกาเหนือไฮมส์ (Hymes) ได้ใช้คำว่า ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (communicative competence) หมายถึงความสามารถในการปฎิสัมพันธ์ หรือปะทะสังสรรค์ทางด้านสังคม (social interaction) ซึ่งความสามารถทางด้านภาษาที่สำคัญที่สุดคือ ความสามารถที่จะพูด หรือเข้าใจคำพูดที่อาจไม่ถูกหลักไวยากรณ์ แต่มีความหมายเหมาะสมกับสภาพการณ์ที่คำพูดนั้นถูกนำมาใช้ (Savignon, 1991)
การสอนภาษาแบบสื่อสาร (Communicative Language Teaching - CLT) คือแนวคิดซึ่งเชื่อมระหว่างความรู้ทางภาษา (linguistic knowledge) ทักษะทางภาษา (language skill) และความสามารถในการสื่อสาร (communicative ability) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อสาร (Canale & Swain, 1980 ; Widdowson, 1978). คเนล และสเวน (1980) และเซวิกนอน (Savignon, 1982) ได้แยกองค์ประกอบของความสามารถในการสื่อสารไว้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้
1. ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสร้าง (grammatical competence) หมายถึงความรู้ทางด้านภาษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ โครงสร้างของคำ ประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสียง
2. ความสามารถด้านสังคม (sociolinguistic competence) หมายถึงการใช้คำ และโครงสร้างประโยคได้เหมาะสมตามบริบทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถามทิศทางและข้อมูลต่าง ๆ และการใช้ประโยคคำสั่ง เป็นต้น
3. ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อความหมายด้านการพูด และเขียน (discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษา (grammatical form) กับความหมาย (meaning) ในการพูดและเขียนตามรูปแบบ และสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
4. ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (strategic competence) หมายถึงการใช้เทคนิคเพื่อให้การติดต่อสื่อสารประสบความสำเร็จโดยเฉพาะการสื่อสารด้านการพูด ถ้าผู้พูดมีกลวิธีในการที่จะไม่ทำให้การสนทนานั้นนั้นหยุดลงกลางคัน เช่นการใช้ภาษาท่าทาง (body language) การขยายความโดยใช้คำศัพท์อื่นแทนคำที่ผู้พูดนึกไม่ออก เป็นต้น จะเห็นได้ว่า CLT ไม่ได้ละเลยโครงสร้างทางไวยากรณ์ แต่ในการสอนโครงสร้างทางไวยากรณ์ต้องเน้นการนำหลักไวยากรณ์เหล่านี้ไปใช้ เพื่อการสื่อความหมายหรือการสื่อสารคเนล และสเวน (Canale & Swain, 1980) อธิบายไว้อย่างชัดเจนถึงความสำคัญของกฎเกณฑ์และโครงสร้างทางภาษา ถ้าปราศจากกฎเกณฑ์ และโครงสร้างแล้วความสามารถทางการสื่อสารของผู้เรียนจะถูกจำกัด ดังนั้น ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (fluency) และความถูกต้องในการใช้ภาษา (accuracy) จึงมีความสำคัญเท่ากัน
บทบาทของผู้เรียน (learner roles)
บรีนและแคนดริน (อ้างใน Richards & Rodgers, 1995) อธิบายบทบาทของผู้เรียนตามแนว CLT ผู้เรียนคือผู้ปรึกษา (negotiator) การเรียนรู้เกิดจากการปรึกษาหารือในกลุ่มผู้เรียน โดยผู้สอนจัดกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ จุดมุ่งหมายหลักในการทำกิจกรรมกลุ่มคือมุ่งให้ผู้เรียนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักการให้พอ ๆ กับการรับ
บทบาทของครู (teacher roles)
ครูมีบทบาทที่สำคัญ 3 บทบาท คือผู้ดำเนินการ (organizer, facilitator)เตรียมและดำเนินการจัดกิจกรรม ผู้แนะนำหรือแนะแนว (guide) ขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ และเป็นผู้วิจัยและผู้เรียน (researcher, learner) เรียนรู้พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนั้นครูอาจมีบทบาทอื่น ๆ เช่น ผู้ให้คำปรึกษา(counselor) ผู้จัดการกระบวนการกลุ่ม (group process manager) ครูตามแนวการสอนแบบCLT เป็นครูที่เป็นศูนย์กลางน้อยที่สุด (less teacher centered) นั่นคือครูมีหน้าที่ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและในช่วงที่นักเรียนทำกิจกรรมครูจะกระตุ้นให้กำลังใจช่วยเหลือให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้ได้ความหมายและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ อันเป็นการเชื่อมช่องว่างระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางด้านสื่อสาร (communicative competence) ของผู้เรียน
บทบาทของสื่อการเรียนการสอน (the role of instructional materials)
การสอนตามแนว CLT จำเป็นที่ต้องใช้สื่อที่หลากหลาย เพราะสื่อมีความสำคัญต่อการเรียนแบบปฏิสัมพันธ์หรือการเรียนแบบร่วมมือและการฝึกใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร สื่อที่สำคัญ 3 อย่างที่ใช้สำหรับการสอนตามแนว CLT ได้แก่ เนื้อหา (text-based) งาน/กิจกรรม (task-based) ของจริง(realia)
- เนื้อหา (text-based material) ในปัจจุบันมีตำราเรียนจำนวนมากมายที่สอดคล้องกับการเรียน/สอนตามแนว CLT ซึ่งการออกแบบตำราเรียนกิจกรรมและเนื้อหาแตกต่างจากตำราที่แต่งขึ้นมาเพื่อสอนไวยากรณ์ ยกตัวอย่าง แบบเรียน CLT จะไม่มีแบบฝึกหัด (drill) หรือโครงสร้างประโยคส่วนมากแบบเรียนที่เน้น CLT จะประกอบไปด้วยข้อมูลในรูปต่าง ๆ เช่น การจัดสถานการณ์ที่ให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมุติหรือกิจกรรมคู่ หรืออาจกำหนดเรื่อง (theme) ที่จะเรียนแล้วมีกิจกรรมที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องนั้น ๆ
- งาน/กิจกรรม (task-based material) เกมส์ต่าง ๆ บทบาทสมมุติ การเลียนแบบ และกิจกรรมอื่น ๆ เช่น กิจกรรมการสอบถามแลกเปลี่ยนข้อมูล (gap conversation) กิจกรรม Jigsaw ที่เน้นให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทำงานเป็นกลุ่มร่วมมือกัน
- สื่อที่เป็นของจริง (realia) CLT เน้นการใช้สื่อที่เป็นของจริง (authentic material) เช่น ป้ายประกาศโฆษณา หนังสือพิมพ์รูปภาพ แผนที่ เป็นต้น
ที่มา http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm
แนวคิดและวิธีสอนภาษาอังกฤษที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (ESL) และภาษาต่างประเทศ (EFL) มีดังนี้
1. การสอนแบบไวยากรณ์และแปล (grammar-translation method)
2. วิธีสอนแบบตรง (direct method)
3. วิธีสอนแบบฟัง-พูด (audio-lingual method)
4. การสอนตามแนวทฤษฎีการเรียนแบบความรู้ความเข้าใจ (cognitive code-learning)
5. การสอนตามแนวธรรมชาติ (natural approach)
6. การสอนแบบเงียบ (silent way)
7. การสอนแบบชักชวน (suggestopedia)
8. การสอนแบบตอบสนองด้วยท่าทาง (total physical response method)
9. การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (community language learning)
10. การสอนตามแนวสื่อสาร (communicative language teaching)
แนวโน้มการเรียนภาษาอังกฤษในอนาคต
1. การสอนตามแนว cognitive-constructivist approach to language learning)
2. การเรียนตามแนวบูรณาการเนื้อหาและภาษา (content and language integrated learning)
3. การเรียนแบบร่วมมือ (cooperative learning)
4. การบูรณาการภาษากับวัฒนธรรม (integration of culture in language learning)
5. การบูรณาการวรรณคดีกับการเรียนภาษา (integration of literature in language learning)
แนวคิดและวิธีสอนภาษาที่มีอิทธิพลต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ในประเทศไทยในปัจจุบันและอนาคต การสอนภาษาอังกฤษตามแนวสื่อสาร communicative language teaching (CLT)
การสอนตามแนวสื่อสารคืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร
การสอนตามแนวสื่อสารได้ถูกพัฒนาขึ้นครั้งแรก ในแถบอเมริกาเหนือและยุโรปในช่วงปี 1970 การสอนตามแนวสื่อสารเกิดขึ้นในยุโรป เพราะในช่วงเวลาดังกล่าวมีผู้อพยพเข้าไปอาศัยในยุโรปเป็นจำนวนมาก สมาพันธ์ยุโรป (Council of Europe) จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาที่สองแบบเน้นหน้าที่และสื่อความหมาย (functional national syllabus design) เพื่อช่วยให้ผู้อพยพสามารถใช้ภาษาที่สองในการสื่อสาร ในส่วนของอเมริกาเหนือไฮมส์ (Hymes) ได้ใช้คำว่า ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (communicative competence) หมายถึงความสามารถในการปฎิสัมพันธ์ หรือปะทะสังสรรค์ทางด้านสังคม (social interaction) ซึ่งความสามารถทางด้านภาษาที่สำคัญที่สุดคือ ความสามารถที่จะพูด หรือเข้าใจคำพูดที่อาจไม่ถูกหลักไวยากรณ์ แต่มีความหมายเหมาะสมกับสภาพการณ์ที่คำพูดนั้นถูกนำมาใช้ (Savignon, 1991)
การสอนภาษาแบบสื่อสาร (Communicative Language Teaching - CLT) คือแนวคิดซึ่งเชื่อมระหว่างความรู้ทางภาษา (linguistic knowledge) ทักษะทางภาษา (language skill) และความสามารถในการสื่อสาร (communicative ability) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อสาร (Canale & Swain, 1980 ; Widdowson, 1978). คเนล และสเวน (1980) และเซวิกนอน (Savignon, 1982) ได้แยกองค์ประกอบของความสามารถในการสื่อสารไว้ 4 องค์ประกอบ ดังนี้
1. ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสร้าง (grammatical competence) หมายถึงความรู้ทางด้านภาษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ โครงสร้างของคำ ประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสียง
2. ความสามารถด้านสังคม (sociolinguistic competence) หมายถึงการใช้คำ และโครงสร้างประโยคได้เหมาะสมตามบริบทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถามทิศทางและข้อมูลต่าง ๆ และการใช้ประโยคคำสั่ง เป็นต้น
3. ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อสื่อความหมายด้านการพูด และเขียน (discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษา (grammatical form) กับความหมาย (meaning) ในการพูดและเขียนตามรูปแบบ และสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
4. ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (strategic competence) หมายถึงการใช้เทคนิคเพื่อให้การติดต่อสื่อสารประสบความสำเร็จโดยเฉพาะการสื่อสารด้านการพูด ถ้าผู้พูดมีกลวิธีในการที่จะไม่ทำให้การสนทนานั้นนั้นหยุดลงกลางคัน เช่นการใช้ภาษาท่าทาง (body language) การขยายความโดยใช้คำศัพท์อื่นแทนคำที่ผู้พูดนึกไม่ออก เป็นต้น จะเห็นได้ว่า CLT ไม่ได้ละเลยโครงสร้างทางไวยากรณ์ แต่ในการสอนโครงสร้างทางไวยากรณ์ต้องเน้นการนำหลักไวยากรณ์เหล่านี้ไปใช้ เพื่อการสื่อความหมายหรือการสื่อสารคเนล และสเวน (Canale & Swain, 1980) อธิบายไว้อย่างชัดเจนถึงความสำคัญของกฎเกณฑ์และโครงสร้างทางภาษา ถ้าปราศจากกฎเกณฑ์ และโครงสร้างแล้วความสามารถทางการสื่อสารของผู้เรียนจะถูกจำกัด ดังนั้น ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (fluency) และความถูกต้องในการใช้ภาษา (accuracy) จึงมีความสำคัญเท่ากัน
บทบาทของผู้เรียน (learner roles)
บรีนและแคนดริน (อ้างใน Richards & Rodgers, 1995) อธิบายบทบาทของผู้เรียนตามแนว CLT ผู้เรียนคือผู้ปรึกษา (negotiator) การเรียนรู้เกิดจากการปรึกษาหารือในกลุ่มผู้เรียน โดยผู้สอนจัดกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ จุดมุ่งหมายหลักในการทำกิจกรรมกลุ่มคือมุ่งให้ผู้เรียนช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้จักการให้พอ ๆ กับการรับ
บทบาทของครู (teacher roles)
ครูมีบทบาทที่สำคัญ 3 บทบาท คือผู้ดำเนินการ (organizer, facilitator)เตรียมและดำเนินการจัดกิจกรรม ผู้แนะนำหรือแนะแนว (guide) ขั้นตอนและกิจกรรมต่าง ๆ และเป็นผู้วิจัยและผู้เรียน (researcher, learner) เรียนรู้พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนั้นครูอาจมีบทบาทอื่น ๆ เช่น ผู้ให้คำปรึกษา(counselor) ผู้จัดการกระบวนการกลุ่ม (group process manager) ครูตามแนวการสอนแบบCLT เป็นครูที่เป็นศูนย์กลางน้อยที่สุด (less teacher centered) นั่นคือครูมีหน้าที่ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและในช่วงที่นักเรียนทำกิจกรรมครูจะกระตุ้นให้กำลังใจช่วยเหลือให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้ได้ความหมายและถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ อันเป็นการเชื่อมช่องว่างระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางด้านสื่อสาร (communicative competence) ของผู้เรียน
บทบาทของสื่อการเรียนการสอน (the role of instructional materials)
การสอนตามแนว CLT จำเป็นที่ต้องใช้สื่อที่หลากหลาย เพราะสื่อมีความสำคัญต่อการเรียนแบบปฏิสัมพันธ์หรือการเรียนแบบร่วมมือและการฝึกใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร สื่อที่สำคัญ 3 อย่างที่ใช้สำหรับการสอนตามแนว CLT ได้แก่ เนื้อหา (text-based) งาน/กิจกรรม (task-based) ของจริง(realia)
- เนื้อหา (text-based material) ในปัจจุบันมีตำราเรียนจำนวนมากมายที่สอดคล้องกับการเรียน/สอนตามแนว CLT ซึ่งการออกแบบตำราเรียนกิจกรรมและเนื้อหาแตกต่างจากตำราที่แต่งขึ้นมาเพื่อสอนไวยากรณ์ ยกตัวอย่าง แบบเรียน CLT จะไม่มีแบบฝึกหัด (drill) หรือโครงสร้างประโยคส่วนมากแบบเรียนที่เน้น CLT จะประกอบไปด้วยข้อมูลในรูปต่าง ๆ เช่น การจัดสถานการณ์ที่ให้ผู้เรียนแสดงบทบาทสมมุติหรือกิจกรรมคู่ หรืออาจกำหนดเรื่อง (theme) ที่จะเรียนแล้วมีกิจกรรมที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องนั้น ๆ
- งาน/กิจกรรม (task-based material) เกมส์ต่าง ๆ บทบาทสมมุติ การเลียนแบบ และกิจกรรมอื่น ๆ เช่น กิจกรรมการสอบถามแลกเปลี่ยนข้อมูล (gap conversation) กิจกรรม Jigsaw ที่เน้นให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทำงานเป็นกลุ่มร่วมมือกัน
- สื่อที่เป็นของจริง (realia) CLT เน้นการใช้สื่อที่เป็นของจริง (authentic material) เช่น ป้ายประกาศโฆษณา หนังสือพิมพ์รูปภาพ แผนที่ เป็นต้น
ที่มา http://wbc.msu.ac.th/wbc/edu/0506714/Unit_2/Unit_2.htm
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)